วันจันทร์ที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2559

                                                                  การบันทึกครั้งที่ 4
วันอังคารที่ 6 กันยายน พ.ศ. 2559

เนื้อหา และ ความรู้ที่ได้รับ


  • อาจารย์ให้นักศึกษาทุกคนไปที่อาคารห้องสมุด เพื่อที่จะไปดูภาพยนต์ที่อาจารย์จัดเตรียมให้
  • อาจารย์ให้นักศึกษาดูวิดีโอ เรื่อง อากาศมหัศจรรย์ ที่ชั้น8 ห้องเธียร์เตอร์ ของมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

   - ลมก็คืออากาศที่เคลื่อนที่ รอบๆตัวเรามีสิ่งที่เรียกว่าอากาศ เช่น มนุษย์ สัตว์ พืช ก็ยังต้องใช้อากาศหายใจ และอากาศสามารถอยู่ได้ทุกที่ ถึงมองไม่เห็นแต่ก็มีตัวตน   ถึงอากาศจะไม่มีรูปร่างแต่อากาศก็สามารถแทรกอยู่ได้ทุกที่เลย อย่างเช่น


วิธีการทดลองต่อไป





- อากาศมีพลังมากมาย แม้หนังสือกองโตๆเรายังใช้แรงดันอากาศยกขึ้นมาได้เลย
 
                           จากการทดลองเรื่องแรงดันอากาศ โดยใช้อากาศจากปอดยกกองหนังสือ
 



อากาศร้อนจะพยายามเข้าแทรกแทนที่อากาศเพื่อปรับสมดุลกัน
  •     จากนั้นเพื่อนก็แจกกระดาษให้คนละ 1 แผ่น ให้ไปคัดลายมือ พยัญชนะไทย มาส่งสัปดาห์หน้า



  •    เมื่อออกมาจากห้องสมุด อาจารย์ก็เรียกนักศึกษารวมตัวกันที่ใต้ตึกนวัตกรรม



                                     

  • จากนั้นให้นำของเล่นที่ทุกคนทำออกมานำเสนอ บอกชื่อและวิธีการเล่น พร้อมบอกว่าเกี่ยวยังไงกับวิทยาศาสตร์



การนำมาประยุกต์ใช้
- สามารถนำวิธีการสอนนี่มาใช้ในอนาคตได้

บรรยากาศในห้องเรียน
- โต๊ะ เก้าอี้ เพียงพอต่อนักศึกษา ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย แอร์เย็น

การจัดการเรียนการสอน
- มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้มีวิธีการคิดในสิ่งที่เคยเรียนผ่านมา และสามารถแก้ปัญหาได้เฉพาะหน้าด้วย

ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์อธิบายและร่วมทำกิจกรรมอย่างดี

ประเมินเพื่อน
- มีความตั้งเรียน และฟังในสิ่งที่อาจารย์อธิบายและสอนเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
- แต่งกายเรียบร้อย น้ำเสียงในการพูดเสียงดังฟังชัด 

 
การบันทึกครั้งที่ 3 วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ( ไม่ได้เรียนแต่อาจารย์ให้สรุปเนื้อหา )
เรียนเวลา 8.30 - 12.30 น.

เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ
                                                                         กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้

- วันนี้อาจารย์ ให้คัดลายมือ ตอนต้นคาบเรียน
 
 
- จากนั้นอาจารย์ก็ให้เข้าเนื้อหาการเรียนการสอน ในสัปดาห์ที่แล้วอาจารย์ได้ให้นักศึกษาสรุป เพื่อช่วยกันตอบคำถาม 


พอเข้าใจในเนื้อหาที่เรียนแล้วอาจารย์ก็ให้จับกลุ่มกลุ่มละ 5 คน เพื่อทำกิจกรรม
กลุ่มของดิฉัน ก็จะมี แพรว แตงโม อาฟง ต้นส้ม อ้อน โดยอาจารย์จะมีกระดาษให้หนึ่งแผ่น และคลิปอีกหนึ่งตัว ให้นักศึกษาแต่ละกลุ่มคิดว่า กระดาษกับคลิป ทำยังไงให้เกิดอากาศที่เคลื่อนที่ หรือ ลม นั้นเอง
 
 
 พอแต่ละกลุ่มทำได้ในรูปแบบที่กลุ่มตัวเองคิดแล้ว ก็ให้ออกไปนำเสนอหน้าชั้นเรียน
 
 
กลุ่มแรก  เป็นกลุ่มของดิฉันเองได้ระดมความคิดกันเพื่อจะเลือกออกมาหรือผลงานของเค้าออกมาก็คือ กลุ่มนี่ทำ การพับ รถจากกระดาษ โดยการก็คือ
- รถคันแรกเพื่อนจะใช้แรงเป่า รถก็จะเคลื่อนที่ไปตามแรงแต่ทิศทางยังไม่เป็นไรตามที่กำหนด
- เพื่อนก็เอารถคันเดิม แต่จะเพิ่มคลิปหนับไว้ข้างหน้าของรถ และวใช้แรงเป่า รถก็สามารถไปตามทิศทางที่เพื่อนกำหนด

 
กลุ่มที่ 2 กลุ่มของศิริพร บุญประคมเขาก็จะระดมความคิดว่าจากเพื่อนเพื่อนก็เห็นกันเลยเอาเป็น
- กลุ่มของดิฉัน ก็จะนำกระดาษ กับคลิป มาปล่อยลงพร้อมกัน จะสังเกตว่าสิ่งไหนถึงพื้นก่อน
- จะเห็นได้ชัดว่า คลิปจะถึงพื้นก่อน เพราะว่าคลิปจะไม่มีพื้นที่ในการให้อากาศสามารถเคลื่อนที่ผ่านได้ ต่างจากกระดาษที่มีแผ่นบางและกว้างสามารถให้อากาศเคลื่อนที่ผ่านได้ ทำให้อากาศพยุงกระดาษจึงทำให้กระดาษถึงพื้นช้ากว่าคลิป

 
กลุ่มที่ 3 จะเป็นกลุ่มของ วิจิตรา เสริมกลิ่น กลุ่มนี่เขาระดมความคิดกันเพื่อจะเลือกออกมาหรือผลงานของเค้าออกมาก็คือ กลุ่มนี่ทำ กระดาษแบ่งพื้นที่เป็นสี่ส่วน
- เค้าก็วาดภาพฤดูต่างๆลง เพื่อที่จะให้เด็กเรียนรู้ ฤดูกาล ให้เด็กดูถึงอากาศ การเปลี่ยนแปลงต่างๆ แต่อาจารย์ให้ไปทำใหม่ อาจารย์ว่ามันไม่เกี่ยวข้องกัน

 
 
กลุ่มที่ 4 จะเป็นกลุ่มของ ธนพร  กลุ่มนี่เขาระดมความคิดกันเพื่อจะเลือกออกมาหรือผลงานของเค้าออกมาก็คือ กลุ่มนี่ทำ ลูกยางกระดาษ ทุกคนจะเห็นได้ชัดเจนเลยว่า ลูกยางกระดาษที่เพื่อทำ เกิดการเรียนรู้ด้วยตัวเอง ที่ทำให้ลูกยางกระดาษ ยังหมุนตกถึงพื้นช้านั้น ก็เพราะว่า กระดาษยังมี อากาศที่เคลื่อนที่ ช่วยพยุงไว้เลยทำให้ตกถึงพื้นช้า
 


 
ทักษะที่ได้รับ
- การคิดวิเคราะห์

การนำมาประยุกต์ใช้
- สามารถนำวิธีการสอนนี่มาใช้ในอนาคตได้

บรรยากาศในห้องเรียน
- โต๊ะ เก้าอี้ เพียงพอต่อนักศึกษา ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย แอร์เย็น

การจัดการเรียนการสอน
- มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้มีวิธีการคิดในสิ่งที่เคยเรียนผ่านมา และสามารถแก้ปัญหาได้เฉพาะหน้าด้วย

ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์อธิบายและร่วมทำกิจกรรมอย่างดี

ประเมินเพื่อน
- มีความตั้งเรียน และฟังในสิ่งที่อาจารย์อธิบายและสอนเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์- แต่งกายเรียบร้อย น้ำเสียงในการพูดเสียงดังฟังชัด 

 
การบันทึกครั้งที่ 2 วันที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ( ไม่ได้เรียนแต่อาจารย์ให้สรุปเนื้อหา )
เรียนเวลา 8.30 - 12.30 น.

เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ
   กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้

สรุปเนื้อหา รูปแบบการเรียนรู้เด็กปฐมวัย
 
 
 
 
 
 

 
 
 
วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ. 2559 หนูได้ไปงาน วันวิทยาศาสตร์มาค่ะ


มีรูปภาพมาให้ดูด้วยค่ะ
 

 











 
ทักษะที่ได้รับ
- การคิดวิเคราะห์

การนำมาประยุกต์ใช้
- สามารถนำวิธีการสอนนี่มาใช้ในอนาคตได้

บรรยากาศในห้องเรียน
- โต๊ะ เก้าอี้ เพียงพอต่อนักศึกษา ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย แอร์เย็น

การจัดการเรียนการสอน
- มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้มีวิธีการคิดในสิ่งที่เคยเรียนผ่านมา และสามารถแก้ปัญหาได้เฉพาะหน้าด้วย

ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์อธิบายและร่วมทำกิจกรรมอย่างดี

ประเมินเพื่อน
- มีความตั้งเรียน และฟังในสิ่งที่อาจารย์อธิบายและสอนเป็นอย่างดี

 

 
 การบันทึกครั้งที่ 1 วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ( เรียนสลับคาบกับวิชาวันจันทร์ )
เรียนเวลา 8.30 - 12.30 น.



เนื้อหาความรู้ที่ได้รับ
   กิจกรรมการเรียนการสอนวันนี้

- อาจารย์ให้ทำ My Map Ping เกี่ยวกับ การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

การจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย

การจัดประสบการณ์ 
- ลงมือปฏิบัติ
- คือการส่งเสริมพัฒนาการให้คบทุกด้าน เช่น ร่างกาย  อารมณ์  สังคม  สติปัญญา
- ประสบการณ์ตรง
- พื้นฐานการเรียนรู้

วิทยาศาสตร์
- การทดลอง
- การสังเกต
- การวิเคราะห์
- การแยกจำแนก

เด็กปฐมวัย
- 0 - 5 ปี
 

ทักษะที่ได้รับ
- การคิดวิเคราะห์

การนำมาประยุกต์ใช้
- สามารถนำวิธีการสอนนี่มาใช้ในอนาคตได้

บรรยากาศในห้องเรียน
- โต๊ะ เก้าอี้ เพียงพอต่อนักศึกษา ห้องเรียนสะอาดเรียบร้อย แอร์เย็น

การจัดการเรียนการสอน
- มีการเตรียมการสอนอย่างดี ให้นักศึกษาได้มีวิธีการคิดในสิ่งที่เคยเรียนผ่านมา และสามารถแก้ปัญหาได้เฉพาะหน้าด้วย

ประเมินตนเอง
- ตั้งใจเรียนฟังอาจารย์อธิบายและร่วมทำกิจกรรมอย่างดี

ประเมินเพื่อน
- มีความตั้งเรียน และฟังในสิ่งที่อาจารย์อธิบายและสอนเป็นอย่างดี

ประเมินอาจารย์
- แต่งกายเรียบร้อย น้ำเสียงในการพูดเสียงดังฟังชัด